TKP HEADLINE

ศูนย์เรียนรู้การปลูกกระเจียวหวานอินทรีย์



ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กลุ่มกระเจียวหวานอินทรีย์ เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกดอกกระเจียวหวานอินทรีย์ รสชาดหวานกรอบ อ่านต่อ...

การทอผ้าซิ่น กศน.ตำบลนาเวียง

กระบวนการผลิต....การทอผ้า เมื่อเตรียมเส้นยืน โดยขึงบนกี่ เก็บและผุกโยงตะกอเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนการทอผ้า อ่านต่อ....

การสานตะกร้าจากเส้นลาสติก กศน.ตำบลนาเวียง

นำเส้นพลาสติกที่เตรียมไว้ มาสานสลับแนวตั้งกับแนวนอนให้มีลักษณะ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จากนั้นสานโดยเพิ่มรอบทีละ 1 เส้นทั้ง 4 ด้าน อ่านต่อ...

การทอผ้าพื้นเมืองลายหอไตรประวัติศาสตร์


กระบวนการผลิต....การทอผ้า เมื่อเตรียมเส้นยืน โดยขึงบนกี่ เก็บและผุกโยงตะกอเรียบร้อยแล้ว อ่านต่อ...

นางศรีจันทร์ ศรีสุข



นางศรีจันทร์ ศรีสุข เป็นแกนนำในกลุ่มสตรีทอผ้าบ้านนาเวียง
กระบวนการผลิต....การทอผ้า เมื่อเตรียมเส้นยืน โดยขึงบนกี่ เก็บและผุกโยงตะกอเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนการทอผ้า ดังนี้คือ 1. เริ่มทอโดยผลักฟืมไปด้านหลัง(ออกจากลําตัวผู้ทอ) เหยียบไม้เหยียบ (หรือไม้ตีนย่ํา)...อ่านต่อ

นางกัณตนุช สิทธิพร


นางกัณตนุช  สิทธิพร พื้นเพเป็นคนบ้านสร้างแป้น โดยกำเนิด อาชีพพนักงานส่วนตำบล ที่อบต.สงยาง แต่งงานมี่ครอบครัวที่บ้านสร้างแป้น มาทำการเกษตรในพื้นที่เดิมใช้ปลูก มันสำปะหรัง จำนวน ๒ ไร่  การทำมันสัมปะหรังไม่ค่อยได้ผล  ดินไม่ดี  เป็นดินทราย เลยได้เคยใช้ปุ๋ยเคมี ...อ่านต่อ

กลุ่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาติบ้านดงยาง


    ติดต่อ : นางเมฆ แสงโชติ   สีที่ใช้กันในชีวิตประจำวันทั้งสีที่ผสมอาหารและสียอมผา ไดมาจากการสังเคราะหสารเคมี และสีจากธรรมชาติ แตสีสังเคราะหหลายชนิดหากนำมาใชผสมอาหารจะเปนอันตรายตอรางกาย แตก ตางจากสีที่ไดจากธรรมชาติ ซึ่งใชผสมอาหารไดโดยไมมีอันตราย อ่านต่อ..

วัดสระไตรนุรักษ์


หอไตรวัดสระไตรนุรักษ์ เป็นแหล่งโบราณคดี ที่มีความสวยงามทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม ใช้เป็นสถานที่ศึกษาทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมได้ตามยุคนั้นๆ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สงบร่มรื่น ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดสระไตรนุรักษ์ ...อ่านต่อ

ปราชญ์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


ร.ต.ประสิทธิ์  สอนสวัสดิ์    พื้นเพเป็นคนบ้านโพนจาน รับราชการทหาร เป็นข้าราชการบำนาญ ปัจจุบันดำงตำแหน่งเป็นรองนายกอบต.สงยางและเป็นปราชญ์ชาวบ้าน และวิทยากรด้านส่งเสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของกอ.รมน.  ...อ่านต่อ

กลุ่มทอผ้าย้อมสีคราม ย้อมสีธรรมชาติ


   กลุ่มอาชีพทอผ้าฝ้ายย้อมคราม ย้อมสีธรรมชาติ หมู่ที่ 18 ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร  การย้อมสีธรรมชาติ  คือ การนำเอาวัตถุดิบในธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์ จุลินทรีย์ และแร่ธาตุต่างๆ มาทำการย้อมกับเส้นด้าย เพื่อนำมาใช้ในการทอผ้า เพิ่มสีสันให้กับเส้นด้ายให้มีความสวยงาม ซึ่งมีการสืบทอดเทคนิควิธีการย้อมมายังคนรุ่นหลัง เป็นวิธีการที่ง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน  อ่านต่อ..

หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง


ชุมชนต้นแบบหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
รางวัลเกียรติยศและความภาคภูมิของคนในชุมชน

ประเภทหมู่บ้าน

รางวัลพระราชทานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็นเป็นสุข พ.ศ.2558  จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม พ.ศ.2558

รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านพัฒนาคุณภาพชีวิตตามรูแปบยโสธรโมเดล ดีเด่น ระดับจังหวัด พ.ศ. 2557

 รางวัลการพัฒนากองทุนแม่ของแผ่นดินระดับเข้มแข็ง พ.ศ. 2555

 รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1  ในการประกวดหมู่บ้านตำบลสงยาง พ.ศ. 2549

รางวัลระดมแผ่นในการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดตามนโยบายของรัฐบาล พ.ศ. 2547 ...อ่านต่อ

กศน.ตำบลนาเวียง


กศน.ตำบลนาเวียง

กศน.ตำบลนาเวียง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 7 ตำบลนาเวียง อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร ...อ่านต่อ

กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง


   กลุ่มตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ตำบลห้องแซง การทอผ้าในชุมชนห้องแซงมีการทอเพื่อนุ่งห่มและมีคนทอผ้าจำนวนน้อย เนื่องจากการทอผ้า 1 ผืนต้องใช้เวลาและฝีมือในการทออย่างากจึงทำให้คนในชุมชนมีความสนใจในอาชีพนี้ไม่มากนัก ทำให้สินค้ามีขายน้อย หรือบางบ้านก็จะทอใช้เองไม่จำหน่าย ดังนั้น กศน.ตำบลห้องแซง จึงร่วมกับชมรมผู้สูงอายุตำบลห้องแซง เข้ามาส่งเสริมอาชีพการทอผ้า และตัดเย็บผ้าพื้นเมือง อ่านต่อ..

วัดป่าดอนธาตุ


วัดป่าดอนธาติ
บ้านโพนจาน ตำบลสงยาง อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโตั้งอยู่ในแนวป่าระหว่างบ้านบ่อบึงกับบ้านน้อยโพนจาน ตำบลสงยาง อำเภอมหาชนะชัย  ตามลักษณะและสภาพโบราณสถานน่าจะเป็นวัดร้าง  เพราะมีกองอิฐซึ่งน่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างประเภทพระอุโบสถ หรือที่ทางอีสานเรียกว่าสิม...อ่านต่อ

การทอผ้าพื้นเมือง


   นางสาวสำราญ  เจริญตา ม.11 ต.ห้องแซง อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร    ผ้าพื้นเมืองภูไทห้องแซง สายใยแห่งภูมิปัญญาวัฒนธรรม อันแฝงไปด้วยมนต์เสนห์ผ้าภูไทห้องแซงอ.เลิงนกทา จังหวัดยโสธร ลายตาม่อง  อ่านต่อ..

ประเพณีบุญบั้งไฟ


ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทางพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา...อ่านต่อ

ประเพณีบุญคูณลาน กศน.ตำบลน้ำอ้อม


       บุญคูนลานหรือบุญคูนข้าวเป็นพิธีกรรมฉลองภายหลังจากเสร็จสิ้นการเก็บเกี่ยว ชาวบ้านรู้สึกยินดีที่ได้ผลผลิตมาก จึงต้องการทําบุญ ...อ่านต่อ

ห้วยลิงโจน


  โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยลิงโจน ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านหนองบึง ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร อ่านต่อ..

ประเพณีสงกรานต์


สงกรานต์ คือ ประเพณีของประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไตแถบเวียดนาม และมนฑลยูนานของจีน รวมถึงศรีลังกา และประเทศทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานกันว่า ประเพณีสงกรานต์นั้นได้รับวัฒนธรรมมาจากเทศกาลโฮลีในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน โดยจะจัดให้มีขึ้นในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 4 ซึ่งก็คือเดือนมีนาคม...อ่านต่อ

ประเพณีบุญกองข้าวใหญ่ตุ้มโฮมเผ่าผู้ไท


   จัดงานในช่วงชาวบ้านเก็บเกี่ยวข้าวจากนาเสร็จ ประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม โดยกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธรได้ร่วมกับสภาวัฒนธรมตำบลห้องแซง กุดเชียงหมี และ ตำบลโคกสำราญ และพี่นัองประชาชนชาวตำบลห้องแซง อ่านต่อ..

ประเพณีบุญบั้งไฟ


ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทางพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถน ...อ่านต่อ

บุญบั้งไฟ


   บุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทานพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พญาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมีความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทำการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา อ่านต่อ..

ออกพรรษา


ออกพรรษา
เมื่อเทศกาลเข้าพรรษาได้ผ่านพ้นไปถึง 3 เดือน ก็จะเป็นช่วงเวลาของ "วันออกพรรษา" ซึ่งถือเป็นการสิ้นสุดระยะการจำพรรษา หรือออกจากการอยู่ประจำที่วัดในช่วงฤดูฝนตลอด 3 เดือนของพระภิกษุสงฆ์ โดยวันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า "วันมหาปวารณา" คำว่า "ปวารณา" นั้นแปลว่า อนุญาตหรือยอมให้ ...อ่านต่อ

ผ้าทอพื้นเมือง ตำบลน้ำอ้อม


แหล่งสาธิตการทอผ้าพื้นเมือง เกิดจากกลุ่มแม่บ้าน เมืองรวม กลุ่มกันทอผ้าไว้ใช้ในครัวเรือน ในงานประเพณีบุญบั้งไฟแต่ละปี มีผู้สนใจรับซื้อผ้าขาวม้าเป็นของฝาก กลุ่มแม่บ้านจึงเกิดแนวความคิดว่าต้องทอผ้าหลายชนิด ...อ่านต่อ

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สวนพ่อพอเพียง


  เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยนางพิมพา  มุ่งงาม ได้นำความรู้ที่ได้รับ  สู่การอบรมเชิงปฏิบัติการ  ให้กับบุคคล กศน. หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความสนใจ อ่านต่อ..

ทอผ้าไหมน้ำอ้อม


  กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านน้ำอ้อม ได้นำทุนทางวัฒนธรรมที่นำมาเป็นแรงบันดาลใจในการพัฒนา ต่อยอด คือ ผ้าไหม เส้นไหมที่ทำแบบโบราณ ทุกขั้นตอน และมีย้อมสีธรรมชาติ ดังนี้ มูลไหม ให้สีเขียว /เปลือกต้นสะเดา ให้สีน้ำตาล / เปลือกต้นกระโหด ให้สีเหลืองอ่อน /ครั่ง ให้สีชมพู อ่านต่อ..

การจักสานกระติบข้าว


การจักสานกระติบข้าว ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มอาชีพบ้านหนองผือน้อย หมู่่ที่ 8
ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สามรถติดต่อได้ทางช่องทาง
Facebook: นายนิตย์สัน ศรีพรม เบอร์โทร 0613374002 ...อ่านต่อ

ทอผ้าพื้นเมือง


   กลุ่มทอผ้าบ้านจานทุ่ง รวมกลุ่มกันทอผ้าฝ้ายพื้นเมือง โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การทอผ้า หรือ "การทอ" (อังกฤษ : weaving) ถือเป็นศิลปะและหัตถกรรมหรืองานฝีมืออย่างหนึ่งที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ อ่านต่อ..

การทอเสื่อกกลายขิด


การทอเสื่อกกลายขิด เป็นผลิตภัณฑ์จากกลุ่มแม่บ้าน บ้านนาซึม หมู่ 6 ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สามารถติดต่อจากช่องทาง...อ่านต่อ

การทอผ้าฝ้ายหมักโคลน


การทอผ้าฝ้ายหมักโคลน เป็นอาชีพที่กลุ่มแม่บ้านบ้านโคกสวาทตั้งกลุ่มขึ้นมา เพื่่อทอผ้าเป็นอาชีพเสริมในช่วงที่ว่างจากการทำนา เป็นผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายที่หมักโคลนไว้แล้วนำมาทอ เป็นการอนุรักษ์ การหมักโคลน และเป็นการอนุรักษ์ธรรมชาติ  กลุ่มทอผ้าฝ้ายหมักโคลนตั้งอยู่ที่ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำตำบลนาโส่ หมู่ 10 ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร  ช่องทางที่สามารถติต่อได้ : Facebook  โคกดอกฝ้าย...อ่านต่อ

ข้าวอินทรีย์


    ตำบลน้ำอ้อม แหล่งผลิตข้าวอินทรีย์ เป็นระบบการผลิตข้าวที่ไม่ใช้สารเคมีทางการเกษตรทุกชนิดเป็นต้นว่า ปุ๋ยเคมี สารควบคุมการเจริญเติบโต สารควบคุมและกำจัดวัชพืช สารป้องกันกำจัดโรค  อ่านต่อ..

นายเกรียงศักดิ์ เวฬุวนารักษ์


  นายเกรียงศักดิ์ เวฬุวนารักษ์ พื้นเพเป็นคนบ้าน ท่าลาด ตำบลนาโส่   อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธรเดิมครอบครัวประกอบอาชีพทํานา  สมัยวัยเด็กนายเกรียงศักดิ์สุขภาพไม่ค่อยแข็งแรงป่วยเป็นโรคน้ำเหลืองและโรคปอด ต้องนอนพักรักษาตัวอยู่หลายวัน พอเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ในปี 2526 ...อ่านต่อ

นายอิฏธิเดช รินทร


  “การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และที่สำคัญเกิดจากใจรักในสุขภาพของคนในครอบครัว  รักในอาชีพการทำนา  ความรักในพื้นดิน    ถิ่นเกิดของเรา  และรักในการแสวงหาความรู้ใหม่ๆหมั่นศึกษาค้นคว้า  ฝึกอบรมเกี่ยวกับการเกษตรอย่างสม่ำเสมอ  ทำให้ได้รับเลือกจากเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนตำบลน้ำอ้อม  เป็นตัวแทนเกษตรกรวิถีเกษตรธรรมชาติ อ่านต่อ..

นายมั่น สามสี


เป็นครูภูมิปัญญาไทยที่ริเริ่มการทำเกษตรกรรม เกษตรอินทรีย์จนมีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ ร่วมงานพัฒนาชุมชนด้วยการจัดตั้งโรงสีข้าวรักษ์ธรรมชาติ ส่เงสริมการผลิตสมุนไพร รวมกลุ่มจัดทำธุรกิจชุมชน การบรรจุภัณฑ์ และธนาคารชุมชน จนประสบความสำเร็จ เป็นแบบอย่างให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาของชุมชนต่าง ๆ...อ่านต่อ

นายสุวรรณ สิมมา


   “การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”  รักในอาชีพการทำนา  ความรักในพื้นดิน    ถิ่นเกิดของเรา  และรักในการแสวงหาความรู้ใหม่ๆหมั่นศึกษาค้นคว้า  ฝึกอบรมเกี่ยวกับการเกษตรอย่างสม่ำเสมอ  ทำให้ได้รับเลือกจากเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนตำบลน้ำอ้อม อ่านต่อ..

กลุ่มทอผ้าฝ้ายบ้านโคกสวาท ตำบลนาโส่


การทอผ้าฝ้ายบ้านโคกสวาท ตำบลนาโส่
ตั้งอยู่ทีศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลนาโส่ หมู่ 10 ตำ บลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เป็นแหล่งเรียนรู้ ในการทอผ้าฝ้ายหมักโคลน  มีกรรมวิธีการหมักโคลน มีวิทยากรที่มีความรู้ความ สามารถถ่ายทอด  ให้กับกลุ่มคนที่สนใจในการทอผ้า...อ่านต่อ

นางพิมพา มุ่งงาม


  “การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ของสถานศึกษาพอเพียง และที่สำคัญเกิดจากใจรักในสุขภาพของคนในครอบครัว  รักในอาชีพการทำนา  ความรักในพื้นดิน    ถิ่นเกิดของเรา  และรักในการแสวงหาความรู้ใหม่ๆหมั่นศึกษาค้นคว้า  อ่านต่อ..

วัดท่าลาด ตำบลนาโส่


วัดท่าลาด ตำบลนาโส่
วัดบ้านท่าลาดตั้งอยู่ที บ้านท่าลาด หมู่ 3ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร
เป็นแหล่งเรียนรู้ในตำบลนาโส่ ในเรื่องการทำยาสุนไพร มีการอบสมุนไพร มีอุปกรณ์ต่างๆเพื่อใช้ในการศึกษาเรือง อุปกรณ์เก่าเเก่เพื่อใช้ในการศึกษาหาความรู้ มีพิพิธภัณฑ์ศูนย์สมุนไพรประจำตำบลนาโส่...อ่านต่อ

โรงสีข้าวอนุรักษ์ธรรมชาติ ตำบลนาโส่


ชมรมรักษ์ธรรมชาติ(กลุ่มเกษตรกรทำนานาโส่)

กลุ่มเกษตรกรทำนาโส่ จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเมื่อ15 มีนาคม 2519 ทะเบียนเลขที่ ยส.3/2519 ตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 141 ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2515ได้ดำเนินการในรูปแบบคณะกรรม การนำสินค้าปัจจัยด้านการผลิตทางการเกษตร (ปุ๋ยเคมี) มาบริการให้ กับสมาชิก แต่ประสบปัญหาการขาดทุนไม่มีการดำเนินกิจกรรมต่อ จนกระทั่งกลุ่มผู้นำไม่เป็นทางการของบ้านโสกขุมปูนโสเหล่กันเพื่อ ระดมความคิดเห็นและรวมกลุ่มแก้ปัญหา...อ่านต่อ

เบี้ยกุดชุมยโสธร


เบี้ยกุดชุม ไม่ใช่ปรากฏการณ์ชั่วขณะที่เกิดขึ้นในกระแส เศรษฐกิจพอเพียง แต่เป็นผลพวงความพยายามใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการพึ่งตนเองมายาวนาน เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจให้กับชุมชนลดการพึ่งพาภายนอก มีการจำกัดการใช้เฉพาะแลกเปลี่ยนสินค้า ที่ผลิตขึ้นในชุมชน...อ่านต่อ

ทอผ้าพื้นเมืองบ้านคำก้าว


   คุณภาพฝ้าย พบว่าที่เกี่ยวกับการปั่นด้ายคือ กำลังเกาะหรือยึดเหนี่ยวต้องมีมากพอ เพราะเส้นใยบิดพันกันเป็นเกลียวมีความละเอียด และความยาวพอดี ความโค้งอ่อนตัวปานกลาง ยึดตัวออกได้บ้าง มีขี้ผึ้งธรรมชาติ หุ้มผิวเส้นใย ผ้าฝ้ายมีเนื้อสัมผัสนุ่ม อ่านต่อ..

ศูนย์สมุนไพร บ้านท่าลาด ตำบลนาโส่


ศูนย์สมุนไพรบ้านท่าลาด ตำบลนาโส่
ศูนย์ต้นแบบด้านการแปรรูปสมุนไพร
ชื่อ-นามสกุล      นายเกรียงศักดิ์ เวฬุวนารักษ์
ที่อยู่          บ้านเลขที่ ๓๕ หมู่ ๓ บ้านท่าลาด ตำบลนาโส่  อำเภอกุดชุม   จังหวัดยโสธร
ที่ดิน          จำนวน ๑ แปลง พื้นที่ทั้งหมด ๙ ไร่
ภูมิหลัง
      นายเกรียงศักดิ์ เวฬุวนารักษ์ พื้นเพเป็นคนบ้านท่าลาด ตำบลนาโส่   อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธรเดิมครอบครัวประกอบอาชีพทํานา  สมัยวัยเด็กนายเกรียงศักดิ์สุขภาพไม่ค่อยแข็งแรงป่วยเป็นโรคน้ำเหลืองและโรคปอด ต้องนอนพักรักษาตัวอยู่หลายวัน พอเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ในปี 2526...อ่านต่อ

ผ้าฝ้ายทอมือ ตำบลน้ำอ้อม



ผ้าฝ้ายทอมือ ตำบลน้ำอ้อม
แนะนำสินค้าบ้านเฮา ผ้าทอมือพื้นบ้าน #บ้านจานทุ่ง ต.น้ำอ้อม อ.ค้อวัง จ.ยโสธร จากรุ่นสู่รุ่น สืบสานงานศิลป์ ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ทอมือจากผ้าฝ้ายคะเซตนี้สีออกพาสเทลน่ารัก ใช้ได้ทั้งผู้ใหญ่และวันรุ่น ขนาด 35 x 170 cm. ราคา 120 ฿ ...อ่านต่อ

ประเพณีสืบชะตาบ้าน


   ประเพณีสืบชะตาเป็นประเพณีที่ผูกพันกับวิถีชีวิตของคนลำปางอย่างแน่นแฟ้นสืบทอดกันมาแต่โบราณกาลเพราะมีความเชื่อมั่นว่าพิธีสืบชะตานี้เป็นการต่ออายุทั้งของตัวเองและญาติพี่น้องบริวารหรือชะตาของบ้านเมืองให้มีอายุยืนยาวสืบไปก่อให้เกิดความสุจความเจริญอีกทั้งเป็นการขจัดภัยอันตรายต่างๆที่จะบังเกิดขึ้นให้คลาดแคล้วจากบาปเคราะห์และสิ่งชั่วร้ายทั้งมวลก่อให้เกิดขวัญ  อ่านต่อ..

รำวงย้อนยุค


รำวงย้อนยุค หรือรำวงพื้นบ้าน คือ รำโทนในภาคกลาง ซึ่งชาวจันทบุรี เรียกกันทั่วไปในอดีตว่า รำวงเขี่ยไต้ เป็นการแสดงพื้นบ้านของชาวบ้าน เมื่อประมาณ ๕๐ – ๖๐ ปีมาแล้ว เพื่อเป็นการบันเทิง ในขณะนวดข้าว สลับกับการร้องเพลงหงส์ฟาง โดยใช้เครื่องดนตรี เป็นอุปกรณ์ที่หาได้ในขณะนั้น เป็นเครื่องกำหนดจังหวะ เช่น ใช้เคาะไม้ เคาะปี๊ป ต่อมาใช้เป็นศิลปะในการหาเลี้ยงชีพ คือรับจ้างแสดงตามงานต่าง ๆ หรือมักเล่นกันในช่วงในฤดูแล้ง มักจัดขึ้นในงานวัด เช่น งานวันวิสาขบูชา อ่านต่อ..

นายเสาร์ คำแก่น หมอแคน

นายเสาร์ คำแก่น หมอแคน หมอลำเป็นการแสดงอย่างหนึ่งคู่กับหมอแคนในวัฒนธรรมลาว แพร่หลายในหมู่ผู้คนพูดลาว (หรือปากลาว) ละแวกสองฝั่งโขงบริเวณประเทศลาว และภาคอีสานของไทย ...อ่านต่อ

ประเพณีผูกแขนเดือนสาม


  การผูกแขนเดือนสามของชุมชนตำบลส้มผ่อ  ส่วนมากจะทำพิธีบายศรีสู่ขวัญให้กับผู้ที่ประสบเคราะห์ต่างๆ หรือให้หายจากอาการป่วยหรือบุคคลภายในครอบครัวให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อ่านต่อ..

ปราชญ์พานบายสี

นางบรรจง จำแก่น
พิธีสู่ขวัญ บางทีเรียกว่า "พิธีบายศรี" หรือ "บายศรีสู่ขวัญ" เป็นประเพณีสำคัญอย่างหนึ่งของชาวอีสาน ประเพณีสู่ขวัญทำกันแทบทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี ...อ่านต่อ

ทอผ้าพื้นเมือง


   เสื้อผ้าการแต่งกายเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มนุษย์ทุกคนต้องแสวงหามาเพื่อห่อหุ้มร่างกาย ในขณะเดียวกันต้องการความสวยงาม ช่วยสร้างบุคลิกให้กับผู้สวมใส่และยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงามในด้านการแต่งกาย ที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง สามารถแต่งกายและตกแต่งร่างกายด้วยผ้าพื้นเมืองได้อย่างภาคภูมิใจ อ่านต่อ..

นางพิมพา มุ่งงาม



         นางพิมพา มุ่งงาม ได้รับแรงบันดาลใจจาก แนวพระราชดำริแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในด้านการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยหลักการดำเนินการคือ ทำให้ทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง ...อ่านต่อ

ข้อคิดเห็นจากเครือข่าย TKP

 
Copyright © 2018 ศูนย์ข้อมูลความรู้ประชาชนจังหวัดยโสธร. Designed by OddThemes > Developed by mediathailand